เวชศาสตร์การบิน
 

เวชศาสตร์การบิน  มีบทบาทและหน้าที่ในการสนับสนุนความปลอดภัย และประสิทธิภาพในการบิน  ให้ความสำคัญกับองค์ประกอบของ มนุษย์เป็นหลัก  ซึ่งรวมถึงทั้งทหารและพลเรือน  ซึ่งมีกิจเฉพาะใน การคัดเลือก (ทั้งร่างกายและจิตใจให้เหมาะสม  โดยทางจิตใจจะดู psychomotor, IQ and personality เป็นหลัก)  การตรวจรักษา (เพื่อให้สุขภาพสมบูรณ์ที่สุด โดยเฉพาะระหว่างปฏิบัติหน้าที่)  การพิจารณา (ว่าให้ทำการบินต่อ หรือให้พักการบิน โดยหลักการทางการแพทย์)  การฝึกอบรม (ให้ทราบถึงอันตราย ปัญหาสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งการป้องกันแก้ไข)  การให้การศึกษา (เพื่อป้องกันอุบัติเหตุในแง่ความบกพร่องของมนุษย์)  การช่วยชีวิต (ในกรณีอุบัติเหตุ)  การลำเลียง (ทางเครื่องบิน)  การค้นหาข้อเท็จจริง (กรณีอุบัติเหตุ เพื่อแก้ไข)  และ การวิเคราะห์วิจัย

สถาบันเวชศาสตร์การบิน  เริ่มก่อตั้งครั้งแรกในประเทศไทย  เมื่อปี พ.ศ. 2521

ชั้นบรรยากาศแบ่งเป็น5 ชั้นตามกายภาพ  ได้แก่  Troposphere (0-40 K’), Stratosphere (40-158 K’), Mesosphere (158-290 K’), Thermosphere (29 K’ – 290 km) and Exosphere (>290 km, true space)   โดยชั้นที่เกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์การบินมากที่สุด  คือ  Troposphere (มักบินที่ความสูงประมาณ 35 K’)

ถ้าแบ่งชั้นบรรยากาศตามสรีรวิทยา  จะสามารถแบ่งได้เป็น  physiological zone (MSL-10 K’)  Physiologically deficient zone (10-50 K’)  and Space equivalent zone (>50 K’)   โดยชั้น physiological zone  จะเป็นชั้นที่มนุษย์สามารถอาศัยอยู่ได้เป็นปกติ  โดยไม่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ หรืออุปกรณ์ใด ๆ 

ในชั้น Troposphere นั้น    อุณหภูมิจะลดลง 1.98 องศาเซลเซียส ในความสูงทุก ๆ 1    ความดันจะลดลงเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น  โดยความดันจะลดลงเป็น ½ เมื่อ ความสูงที่ประมาณ 18  

องค์ประกอบของบรรยากาศ  จะมีอัตราส่วนของ gas ต่าง ๆ เป็นค่าคงที่  คือ  O2 21%, N2 78%  and other rare gases 1%

 

กฎของ gas ที่สำคัญ

1. Boyle’s law อธิบายถึงปฏิกิริยาของ gas ที่ขังตามโพรงอวัยวะต่างๆ

2. Dalton’s law อธิบายเรื่อง hypoxia

3. Henry’s law อธิบายเรื่อง DCI (Decompression sickness)

4. Charle’s law อธิบายเรื่อง การวัดความดันของถังออกซิเจนในที่สูง

5. Law of Gaseous diffuse

 

ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ในผู้ปฏิบัติงานในที่สูง

1. Effect of Pressure Change  ที่สำคัญ  ได้แก่  Trapped gas disorder and evolved gas disorder

2. Effect of Rapid Decompression  ที่สำคัญ  ได้แก่  wind blast, mechanical expansion of gas, hypoxia, DCI, cold injury

 

Trapped Gas Disorder

1. อวัยวะ

i. Teeth จะมีปัญหาในกรณีที่อุดฟันไม่ดี  ทำให้ปวดได้มาก

ii. Lung อันตรายมาก  ซึ่งเป็นข้อห้ามไม่ให้ลำเลียงผู้ป่วย pneumothorax, air embolism or pneumomediastinum  ทางอากาศ  ต้องลำเลียงทางบกเท่านั้น

iii. GI Tract ทำให้มีอาการปวดท้อง  แน่นท้อง  หายใจไม่สะดวก  อาจ shock

iv. Post Surgery หลังผ่าตัดประมาณ 2 สัปดาห์ อาจมีปัญหาได้

v. Post trauma ต้องระวังในผู้ป่วยที่มีประวัติ trauma  โดยเฉพาะ gas ในตา

vi. Middle ear สามารถลดความดันในหูได้โดย การกลืนน้ำลาย  คำราม และการเคี้ยว  และสามารถเพิ่มความดันในหูได้โดยการทำ Valsalva manoeuvre

2. ป้องกัน trapped gas disorderได้  โดย  fly only when healthy, do not self medicate, see a doctor if ill, equalize pressure frequently on descent, avoid gas producing foods, maintain a healthy diet

 

DCI

1. อาการ  ได้แก่  bends(joint), creeps(skin), chokes(Respiratory), staggers (CNS)    โดยมีปัจจัย  ได้แก่  อัตราไต่  ระยะสูงและระยะเวลา  การใช้กำลังทำงาน  อายุ  ระดับไขมัน  scuba diving ก่อนการบิน

2. การป้องกัน ทำได้โดย  limit pressure ให้อยู่ในระดับต่ำกว่า 18,000 ฟุต   การ denitrogenation  และ  การ keep warm

3. การรักษา ทำได้ โดย  immobilization, horizontal or head down, 100% oxygen, decompression ASAP

 

Cabin Pressurization

1. Principle  : source of air, compressor, heat exchange, safety valves+ discharge valve

2. Advantage : no need for oxygen, control moisture + T + humidity, decrease risk of DCI, decrease trapped gas problems, increase comfort and decrease fatigue

3. Disadvantage : spread of disease and toxic, loss of cabin pressurization

 

สรุปโดย Thirayost Nimmanon

 

ปรับปรุงครั้งล่าสุด 15/06/2010

FollowHisSteps.com

ได้รับการสนับสนุน Web Hosting จาก SPAComputer.com, ThaWang.com