Crisis Intervention
 

 

Crisis Theory

 

Definition of Crisis

เป็นภาวะชั่วคราว ที่เกิดจากบุคคลรับรู้ว่ามีสิ่งคุกคามต่อตัวภาพพจน์ หรือ เป้าหมายในชีวิตของเขา

 

Model of Emotional Crisis

เกิดจาก disequilibrium จาก tension ที่เรียกว่า emotional crisis

 

Crisis as a Danger or an Opportunity

การที่ hazardous event ของบุคคลหนึ่ง อาจไม่ hazardous สำหรับอีกบุคคลหนึ่ง  ขึ้นกับว่า บุคคลนั้น perceive ว่าเป็นสิ่งคุกคาม (danger)  หรือว่าเป็นสิ่งที่ท้าทาย (opportunity)

 

Stages of a Crisis

แบ่งเป็น stages ได้แก่  Pre-crisis, Crisis และ Post-crisis stage ซึ่งโดยธรรมชาติของ active crisis state จะเป็น self-limited ใน 6-8 สัปดาห์

 

 

Crisis Intervention

 

Crisis Intervention

ดัดแปลงจาก brief psychotherapy  โดยเป้าหมายคือการแก้ไข immediate crisis และการกลับเข้าสมดุลให้มี function ดีกว่าหรือเท่ากับก่อน crisis   ซึ่งมี therapist เป็น active participant   รวมทั้งสิ้นประมาณ 1-6 sessions

 

Model for Crisis Intervention

มี well-defined goals ได้แก่ relieve immediate pain, เข้าสู่ normal social functioning  โดย base on reality

 

Indication

- specific precipitating event สัมพันธ์กับ disequilibrium

- มีความกังวลและปวดร้าวทางอารมณ์เฉียบพลัน

- coping technique and problem-solving skills เสีย

- secondary gain from maladaptive coping strategies

 

Patient Selection

ผู้ป่วยมีแรงจูงใจ และ ศักยภาพที่จะเปลี่ยนแปลง มีความยืดหยุ่น  มี anxiety tolerance  มีศักยภาพที่จะเรียนรู้วิธีแก้ปัญหาแบบใหม่ ๆ ที่ดีกว่าเก่า และ มี psychological mind

 

Technique of Crisis Intervention

1. Initial Phase : Assessment

  • ประเมินว่า current problem คืออะไร  อะไรคือ crisis precipitating event
  • ประเมินการ perceive ปัญหาของผู้ป่วย
  • ประเมิน coping skill และ pre-crisis functioning
  • ประเมินว่าปัญหาที่แก้ไม่ได้ ส่งผลอะไรบ้าง
  • ประเมิน suicide หรือ homicide idea
  • ประเมิน social support system

2. Second Phase : Setting Treatment Goals

specific และ realistic มุ่งไปสู่ immediate current situation

ต้องแสดงให้ผู้ป่วยเห็นถึง

  • เป้าหมายของการรักษาที่เป็นรูปธรรม
  • จุดเริ่มต้น, ทิศทาง และจุดสิ้นสุดของการรักษา
  • แสดงถึง active role และอาจใช้ authority ในการบอกผู้ป่วยว่าเขาอยู่ใน crisis นี้ สามารถแก้ไขได้
  • ความเต็มใจของ therapist ในการช่วยแก้ไข crisis
  • ผู้ป่วยต้องมี active role เช่นกัน

Therapeutic relationship สำคัญที่จะก่อให้เกิด rapport, mutual understanding and working alliance

การทำสัญญา ประกอบด้วย

  • Reachable treatment goals
  • ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการรักษา
  • การรักษาจะสิ้นสุดเมื่อไร
  • หน้าที่ของ therapist และ ผู้ป่วยในการรักษา
  • ความร่วมมือและความเข้าใจซึ่งกันและกัน

3. Third Phase : Implementation

เน้นลักษณะ here and now  สนใจเหตุการณ์เฉพาะหน้า  โดย confrontation อาจใช้เพื่อให้ผู้ป่วยอยู่ใน reality  ส่วน transference, cognitive inattention จะถูก explored and removed เพราะถือเป็นอุปสรรคในการรักษา  ผู้ป่วยจะได้รู้ coping skills แบบใหม่  ส่วน therapist อาจต้องเกี่ยวข้องกับ support system และ มองหา community resources อื่น ๆ

4. Final Phase : Termination

การตัดสินการสิ้นสุดการรักษา  ใช้เกณฑ์ดังนี้

  1. ผู้ป่วยเข้าใจ และบอก crisis ที่เกิดขึ้น
  2. ผู้ป่วยรู้และสามารถบอกปฏิกิริยาตอบสนอง
  3. ผู้ป่วยสามารถบอก coping skills และวิธีการที่จะนำไปใช้เมื่อพบกับปัญหาในคราวหน้า
  4. ผู้ป่วยหมดความรู้สึกโกรธ สิ้นหวัง หรือขมขื่นฃ
  5. ผู้ป่วยมองเห็นว่า stress เป็นเหตุการณ์ปกติ
  6. คิดว่าสามารถจัดการปัญหาด้วย coping skills

สิ่งที่ต้องระวัง คือ ความรู้สึกของ therapist ที่ต้องการให้ผู้ป่วยคงอยู่ และความรู้สึกกังวลของผู้ป่วยที่ต้องแยกจาก therapist

 

สรุปโดย ธีรยสถ์ นิมมานนท์

ปรับปรุงครั้งล่าสุด 15/06/2010

FollowHisSteps.com

ได้รับการสนับสนุน Web Hosting จาก SPAComputer.com, ThaWang.com