Cholesteatoma
 

Anatomy and Physiology
Introduction to Otitis Media
Acute Otitis Media
Chronic Otitis Media
Complications of Otitis Media
Cholesteatoma
Reference

Table of Contents

hit counter

My Web Stats Until Dec 2008

เป็นภาวะที่มี stratified squamous keratinizing epithelium  อยู่ในหุชั้นกลาง  คำว่า cholesteatoma  นี้เป็น misnomer  เพราะมันไม่ใช่ tumor  และไม่มี cholesterol เป็นองค์ประกอบ  พบในชาย มากกว่าหญิง 2 เท่า

  • Primary acquired cholesteatoma พบ 82%  กลุ่มนี้จะไม่มีประวัติโรคหูมาก่อน

  • Seconary acquired cholesteatoma  พบ 18 %  กลุ่มนี้เกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้อในหูชั้นกลาง

 

กลไกการเกิด

1. Attic Retraction

การที่มีการอุดตันของ eustachisan tube อย่างเรื้อรัง  จะมีผลทำให้มี negative pressure ต่อ Shrapnell’s membrane  จึงดึงรั้งเยื่อบุแก้วหูส่วนนี้ให้หวำเข้าไปใน attic  เกิดเป็น invaginated pocket  ที่บุด้วย squamous epithelium   พอนานเข้าก็มี  shedding of keratin squames  สะสมในถุงนี้เรื่อยไปจนขยายใหญ่ขึ้น  และกัดกร่อนลุกลามเข้าไปใน attic, middle ear and mastoid antrum   กลไกนี้สามารถอธิบายการเกิด primary acquired cholesteatoma ได้

2. Immigration

โดยมีการเคลื่อนที่ของ stratified squamous keratinizing epithelium  จากหูชั้นนอก  ผ่าน marginal perforation  เข้าไปในหูชั้นกลาง  กลไกนี้อธิบายการเกิด secondary acquired cholesteatoma  ได้

3. Implantation

โดยถ้าเกิดอุบัติเหตุแล้วทำให้มี temporal bone fracture หรือ traumatic perforation of ear drum   ก็จะทำให้มี viable stratified squamous epithelium   จากหูชั้นนอกไปฝังตัวในหูชั้นกลาง  แล้วมีการเจริญเติบโตกลายเป็น cholesteatoma ต่อไป  กลไกนี้อธิบายการเกิด cholesteatoma ตามหลัง blast type of traumatic perforation of ear drum

4. Squamous Metaplasia

โดยมีการอักเสบเรื้อรังของหูชั้นกลางอยู่นาน ๆ  จะทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุของหูชั้นกลาง  จาก respiratory epithelium  เป็น stratified squamous keratinizing epithelium

 

S/S

ระยะแรกจะไม่มีอาการอะไร  จนกว่าจะมีการลุกลามเข้าไปในหูชั้นกลาง หรือ mastoid  จึงจะมีอาการ

 

PE

otoscope จะตรวจพบ attic polyp, crust or white keratin debris ในหูชั้นกลาง

 

Histopathology

ประกอบด้วย 3 ชั้น

1. Superficial Layer

ประกอบด้วย desquamated keratin squames

2. Epithelial Layer

ประกอบด้วย stratified squamous keratinizing epithelium

3. Subepithelial Layer

ประกอบด้วย connective tissue and cellular matrix  ซึ่งชั้นนี้จะทำให้เกิดผลต่อการทำลายต่อ underlying bone

 

การรักษา

การผ่าตัดเอา cholesteatoma epithelium ออกมาให้หมด

 

[Anatomy and Physiology] [Introduction to Otitis Media] [Acute Otitis Media] [Chronic Otitis Media] [Complications of Otitis Media] [Cholesteatoma] [Reference]

 

ปรับปรุงครั้งล่าสุด 15/06/2010

FollowHisSteps.com

ได้รับการสนับสนุน Web Hosting จาก SPAComputer.com, ThaWang.com